แนวข้อสอบ คู่มือเตรียมสอบ
โทร. 098-601-6747 LINE ID: @naihoy (มี @ ด้วย)

กรมทรัพยากรน้ำบาดาล

แนวข้อสอบ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล

แนวข้อสอบ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล

แนวข้อสอบ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ครบจบในเล่มเดียว อัพเดทล่าสุดตามประกาศสอบล่าสุด

แนวข้อสอบ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ครบจบในเล่มเดียว เก็งข้อสอบโดยผู้มีประสบการณ์ เก็งข้อสอบออกบ่อยสุด ตรงตามประกาศสอบ หนังสือ คู่มือเพื่อเตรียมตัวสอบ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล หนังสือแนว ข้อสอบ เพื่อสอบเข้าทำงาน กรมทรัพยากรน้ำบาดาล โดยเฉพาะ รวมแนวข้อสอบที่ออกบ่อยสุด มีเนื้อหาให้อ่าน/มีสาระบัญ/มีเลขหน้า/มีสรุปเนื้อหาท้ายบท/มีแนวข้อสอบ/พร้อมเฉลย

ประวัติ

การใช้น้ำของมนุษย์ในโลกเริ่มตั้งแต่เมื่อใดไม่มีหลักฐานบันทึกไว้ แต่ที่แน่นอนคือเริ่มต้นจากประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคที่แห้งแล้ง การนำน้ำบาดาลมาใช้ประโยชน์ในอดีตมีหลักฐานสิ่งก่อสร้างปรากฏให้เห็นจนถึงปัจจุบันในแถบเอเซียกลาง ทั้งในประเทศอียิปต์ และอิหร่าน ซึ่งมีมาตั้งแต่ประมาณ 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช ได้แก่ Kanat ซึ่งเป็นระบบอุโมงค์ส่งน้ำที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 เมตร ขุดขึ้นตามแนวชั้นหินหรือชั้นทรายที่เป็นแหล่งกักเก็บน้ำบาดาล โดยทำเป็นปล่องที่สามารถสูบหรือตักน้ำขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้เป็นระยะ ๆ ตลอดความยาวของอุโมงค์ ตัวอุโมงค์มักเริ่มจากเชิงเขาไปตามความลาดเอียงของภูมิประเทศ น้ำบาดาลจะไหลตามความลาดเอียงของอุโมงค์เหมือนน้ำในลำคลอง ระบบ Kanat ที่เมืองเตหะรานยาว 8-16 ไมล์ ลึกที่สุดประมาณ 150 เมตร สามารถใช้ทำกสิกรรมและอุปโภคบริโภคสำหรับคนถึง 275,500 คน ระบบ Kanat เมืองดิชฟุล ขุดไปตามแนวสันทรายใต้ดินลอดใต้ตัวเมือง อาคารบ้านเรือน และพื้นที่กสิกรรมทำให้เกิดระบบถ่ายเทความร้อนและได้รับความเย็นชุ่มชื่นจากอุโมงค์ส่งน้ำในฤดูร้อน ระบบ Kanat ในอียิปต์สร้างโดยพลเรือนเอกไชลอกช์ เพื่อการชลประทานในพื้นที่ 1,800 ตารางไมล์ โดยการขุดอุโมงค์เข้าไปในชั้นหินทรายได้น้ำบาดาลจากแนวรอยเลื่อนของหิน การพัฒนาน้ำบาดาลระบบ Kanat เป็นการดำเนินการด้วยวิธีการขุดทั้งสิ้น

แสดงทั้งหมด 5 ผลลัพท์