แนวข้อสอบ คู่มือเตรียมสอบ
โทร. 098-601-6747 LINE ID: @naihoy (มี @ ด้วย)

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

แนวข้อสอบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 

แนวข้อสอบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

แนวข้อสอบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ครบจบในเล่มเดียว อัพเดทล่าสุดตามประกาศสอบล่าสุด

แนวข้อสอบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ครบจบในเล่มเดียว เก็งข้อสอบโดยผู้มีประสบการณ์ เก็งข้อสอบออกบ่อยสุด ตรงตามประกาศสอบ หนังสือ คู่มือเพื่อเตรียมตัวสอบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หนังสือแนว ข้อสอบ เพื่อสอบเข้าทำงาน สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยเฉพาะ รวมแนวข้อสอบที่ออกบ่อยสุด มีเนื้อหาให้อ่าน/มีสาระบัญ/มีเลขหน้า/มีสรุปเนื้อหาท้ายบท/มีแนวข้อสอบ/พร้อมเฉลย

ประวัติย่อ

แนวคิดการจัดการศึกษา อาชีพได้มีมาตั้งแต่ยุคสมัยที่ประเทศไทยเริ่มมีอาชีพหัตกรรมมากขึ้นนอกเหนือไปจากอาชีพ กสิกรรมการ อาชีวศึกษา เริ่มอย่างเป็นระบบเมื่อได้รับการบรรจุในโครงการศึกษา พ.ศ. 2441 เป็นการศึกษาพิเศษซึ่งหมายถึง การเรียนวิชา เฉพาะ เพื่อให้เกิด ความชำนาญ โดยในปี พ.ศ. 2452 การจัดการศึกษา ได้แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ โรงเรียน สามัญศึกษา สอนวิชา สามัญ และโรงเรียน วิสามัญศึกษาสอนวิชาเพื่อออกไปประกอบอาชีพ เช่น แพทย์ ผดุงครรภ์ ภาษาอังกฤษ พาณิชยการ ครู เป็นต้น ในปี พ.ศ. 2453 ได้จัดตั้ง โรงเรียนอาชีวศึกษาแห่งแรก คือ โรงเรียนพาณิชยการที่วัดมหาพฤฒาราม และวัดราชบูรณะ ปี พ.ศ. 2456 จัดตั้งโรงเรียน เพาะช่าง และปี พ.ศ. 2460 จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม แผนการศึกษาแห่งชาติ ได้มีผลต่อการกำหนดการศึกษาอาชีพให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยในแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2475 ได้กำหนดว่าวิสามัญศึกษา ได้แก่ การศึกษาวิชาชีพซึ่งจัดให้เหมาะสมกับภูมิประเทศ เช่น กสิกรรม หัตถกรรม และพาณิชยการ เพื่อเป็นพื้นฐานความรู้สำหรับประกอบการเกษตรกรรมและ อุตสาหกรรม ต่าง ๆ และในแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2479 ได้ ปรากฏคำว่า “อาชีวศึกษา” เป็นครั้งแรกในระบบการศึกษาของประเทศไทย โดยแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ อาชีวศึกษา ชั้นต้น กลาง และสูง รับนักเรียนจากโรงเรียนสามัญศึกษาของทุกระดับประโยค อ่านต่อ

แสดงทั้งหมด 11 ผลลัพท์