แนวข้อสอบ คู่มือเตรียมสอบ
โทร. 098-601-6747 LINE ID: @naihoy (มี @ ด้วย)

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

แนวข้อสอบ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

แนวข้อสอบ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

แนวข้อสอบ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ครบจบในเล่มเดียว อัพเดทล่าสุดตามประกาศสอบล่าสุด

แนวข้อสอบ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สมอ. ครบจบในเล่มเดียว เก็งข้อสอบโดยผู้มีประสบการณ์ เก็งข้อสอบออกบ่อยสุด ตรงตามประกาศสอบ หนังสือ คู่มือเพื่อเตรียมตัวสอบ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สมอ. หนังสือแนว ข้อสอบ เพื่อสอบเข้าทำงาน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สมอ. โดยเฉพาะ รวมแนวข้อสอบที่ออกบ่อยสุด มีเนื้อหาให้อ่าน/มีสาระบัญ/มีเลขหน้า/มีสรุปเนื้อหาท้ายบท/มีแนวข้อสอบ/พร้อมเฉลย

ประวัติ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สมอ.
งานด้านการมาตรฐานในประเทศไทยเริ่มใน พ.ศ. 2446 (ร.ศ.122) เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติเงินตรารัตนโกสินทร์ศก 122 ขึ้น ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติที่มีกฎเกณฑ์ ในการทำเหรียญกษาปณ์ตามหลักวิทยาศาสตร์ ในการนี้กระทรวงพระคลังมหาสมบัติได้จัดตั้งกองแยกธาตุ เพื่อวิเคราะห์ควบคุมคุณภาพของเนื้อเงินที่ใช้ทำเหรียญกษาปณ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

กิจการอุตสาหกรรมในประเทศไทย เกิดขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เนื่องจากประเทศไทย อยู่ในภาวะขาดแคลนผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่นำเข้าจากต่างประเทศ จึงจำเป็นต้องผลิตขึ้นเองภายในประเทศ ดังนั้นเพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไทย กรมวิทยาศาสตร์ กระทรวงอุตสาหกรรม จึงได้เริ่มบริการออกหนังสือรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมที่ผลิตภายในประเทศในปี พ.ศ. 2482 โดยอาศัย มาตรฐานของต่างประเทศ หรือเอกสารข้อแนะนำขององค์กรระหว่าง ประเทศ หรือมาตรฐานของผู้ผลิตที่กรมวิทยาศาสตร์ยอมรับเป็นเกณฑ์ ในการพิจารณาให้ใบรับรอง โดยผู้ประสงค์จะขอหนังสือรับรอง คุณภาพผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ผลิตในประเทศจะต้องยื่นคำขอ ที่กรมวิทยาศาสตร์ พร้อมตัวอย่างผลิตภัณฑ์ และค่าธรรมเนียมกรมวิทยาศาสตร์จะส่งเจ้าหน้าที่ไปตรวจกรรมวิธีผลิต และวิธีควบคุมคุณภาพของโรงงานพร้อมทั้งขอเก็บตัวอย่างใหม่ ในเวลาใกล้เคียงกันก็จะซื้อผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันจากท้องตลาด เพื่อเป็นตัวอย่างในการวิเคราะห์ทดสอบอีก หากผลการวิเคราะห์ทดสอบ ตัวอย่างทั้ง 3 ประเภทดังกล่าว ปรากฏว่ามีคุณภาพตามมาตรฐานก็จะออกหนังสือรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้ว่ามีคุณภาพ “ใช้ได้” หรือ “ดี” หากผลการวิเคราะห์ทดสอบผลิตภัณฑ์ทั้ง 3ประเภทดังกล่าว ปรากฏว่ายังไม่มีคุณภาพตามมาตรฐาน ก็จะแจ้งผลให้ผู้ยื่นคำขอทราบ พร้อมทั้งให้คำแนะนำในการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน อ่านต่อ

แสดงทั้งหมด 3 ผลลัพท์